|
|
บทความ: สาระเรื่องอื่น ๆ ทั่วไป |
|
การทำสามีจิกรรม เพื่อความสามัคคีกัน อยู่ร่วมกันโดยสงบสุข
เป็นธรรมเนียมของสงฆ์อย่างหนึ่งที่ภิกษุสามเณรพึงทำความชอบต่อกัน เพื่อความสามัคคีกัน อยู่ร่วมกันโดยสงบสุข การทำความชอบนี้เรียกว่า สามีจิกรรม หมายถึง การขอขมาโทษกัน ให้อภัยกัน ทุกโอกาสไม่ว่าจะมีโทษขัดข้องหมองใจกันหรือไม่ก็ตาม
ครบ ๑๕๐ ปี วันประสูติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ๑๔ ก.ย. ๕๒
ในวาระที่ครบรอบ ๑๕๐ ปี ในวันประสูติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ฯ องค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จัดนิทรรศการพระราชประวัติ ณ ตำหนักล่าง วัดบวรนิเวศน์วิหาร ระหว่าง วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๒ - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ นาฬิกา ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ตัดกรรมได้จริงหรือ
ธรรมศึกษา : แก้ปัญหาสังคม (แท้งเถื่อน)
บทความ ธรรมศึกษา : แก้ปัญหาสังคม (แท้งเถื่อน)
โดย พระพจนารถ ปภาโส
รองหัวหน้าฝ่ายนโยบายและแผน
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
อ่านบทความนี้
น.ศ.อาสาสมัครอิ่มบุญ ดูแลผู้เข้าประชุมชาวพุทธโลก
เสร็จสิ้นไปเป็นที่เรียบร้อยสำหรับการประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลกที่ผ่านมา นับเป็นความสำเร็จหนึ่งของประเทศไทยที่สามารถรวบรวมชาวพุทธจากทั่วโลกกว่า 80 ประเทศเข้าร่วมงาน โดยเบื้องหลังความสำเร็จครั้งนี้คงต้องยกความดีความชอบให้กับหลายส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ พระองค์ผู้ทรงเริ่มต้นการสอบธรรมศึกษา
สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าภุชงค์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้นหนึ่ง กรมขุนเจริญผลภูลสวัสดิ์ กับ หม่อมปุ่น ชุมพูนุท ประสูติ เมื่อวันศุกร์ เดือนอ้าย แรม ๗ ค่ำ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๐๒
ศรีวิชัยปลุกจิตสำนึก นำ น.ศ.ทำบุญเข้าพรรษา
ผศ.อุไรวรรณ สุภานินิตย์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (มทร.ศรีวิชัย) เล็งเห็นความสำคัญทางพุทธศาสนา และต้องการปลุกจิตสำนึกที่ดีให้กับนักศึกษา
สาระความรู้ทางอินเตอร์เน็ต : โปรแกรมดูดเว็บ สร้างความเดือดร้อนกันทั่วหน้า
เมื่อก่อน ตอนที่ internet ยังไม่เร็ว การจะเปิดหน้าเว็บแต่ละหน้าต้องใช้เวลานานมาก บางหน้าก็ 5-10 นาที โดยประมาณ ซึ่งต้องอดทนรอเป็นอย่างมาก นั่งเฝ้าตลอด
สุขภาพพระสงฆ์
จากผลสุ่มตรวจสุขภาพพระสงฆ์ล่าสุด ในปี 2551 ทั้งหมด 24,445 รูป ครอบคลุม 4 ภาค พบว่ามีพระสุขภาพดี ไม่พบความผิดปกติเพียงร้อยละ 49 (ในจำนวนนี้พระสงฆ์ที่สุขภาพดีที่สุด อยู่ในภาคเหนือ ร้อยละ 77) ที่เหลือร้อยละ 51 แบ่งเป็นร้อยละ 28 เป็นโรคแล้ว
หมอชีวกโกมารภัจจ์ (ตอนที่ 1)
หมอชีวกโกมารภัจจ์ ได้รับการยกย่องให้เป็นปรมาจารย์ทางด้านแพทย์แผนตะวันออกที่ใช้สมุนไพรรักษาโรคและดูแลสุขภาพ ตัวยาสมุนไพรต่างๆ ที่แพทย์ตะวันออกสั่งสอนและใช้รักษาโรค ส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาตั้งแต่ยุคหมอชีวกโกมารภัจจ์ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้เอง เวลาแพทย์แผนตะวันออกจะปรุงยาแต่ละครั้งต้องไหว้ครูเพื่อรำลึกถึงหมอชีวกโกมารภัจจ์ ต้นตำรับยาสมุนไพรและครูอาจารย์ที่ได้อนุรักษ์ตำรับตำราตกทอดมาถึงปัจจุบัน
หมอชีวกโกมารภัจจ์ (ตอนที่ 2) เริ่มรักษาคนไข้
หมอชีวกเรียนจบแพทย์แล้ว ได้กราบลาอาจารย์ทิศาปาโมกข์เดินทางกลับกรุงราชคฤห์บ้านเกิดเมืองนอน ที่ได้จากมาเป็นเวลาหลายปี แต่ระยะทางจากเมืองตักกสิลาไปยังกรุงราชคฤห์ห่างไกลมาก ประกอบกับถนนหนทางสัญจรก็ทุรกันดาร ต้องรอนแรมเดินทางหลายวันกว่าจะพบหมู่บ้านร้านตลาดสักครั้งหนึ่ง แล้วต้องตะบึงเข้าสู่เส้นทางที่ยากลำบากต่อไป นอกจากหนทางที่สัญจรขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องย่ำโคลนตมไปอย่างทุลักทุเลในฤดูฝนแล้ว เมื่อแดดส่องแรงไม่นานฝุ่นคละคลุ้งเกาะติดตามใบหน้า เนื้อตัวเหมือนหุ่นดินปั้นเดินได้แล้ว ยังต้องเผชิญหน้ากับสิงสาราสัตว์ที่ไม่เคยพบเคยเห็นอีกมากมาย แม้จะไม่มีสัตว์ตัวใดมุ่งเข้ามาทำร้าย แต่ก็ทำให้หวาดกลัวและอกสั่นขวัญแขวนไม่น้อยเหมือนกัน
หมอชีวกโกมารภัจจ์ (ตอนที่ 3) รักษาริดสีดวงทวาร
คราวหนึ่งพระเจ้าพิมพิสาร ทรงประชวรเป็นริดสีดวงทวาร พระโลหิตไหลออกมาเปื้อนพระภูษาอยู่เป็นประจำ เวลาเสด็จไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจหรือเสด็จออกราชการในที่ใดๆ พระโลหิตก็จะเปื้อนพระภูษาอยู่อย่างนั้น จนบรรดาสนมน้อยใหญ่ทั้งหลายพากันแอบกระซิบกระซาบอย่างสนุกสนานว่า เวลานี้พระเจ้าแผ่นดิน ทรงมีระดู สงสัยทรงมีต่อมพระโลหิตเหมือนกับพวกเรา อีกไม่นาน คงจะมีพระประสูติกาลเป็นแน่
|
|
|